***ผู้ป่วยเบาหวาน ควรตรวจอะไรเพิ่มเติม***
1. การตรวจฮีโมโกลบิน เอวันซี ( HbAlc) เป็นฮีโมโกลบินที่มีกลูโคสไ ปจับอยู่ ปกติจะมีค่าประมาณ 4.3-5.8 % ของฮีโมโกลบินทั้งหมด ค่าจะสูงขึ้นในผู้ป่วยเบาหว านที่ไม่ได้รับการรักษาที่ด ี เนื่องจากมีกลูโคสจำนวนมากไ ด้จับกับฮีโมโกลบิน สามารถตรวจได้โดยไม่ต้องอดอ าหาร ค่าที่ได้ขึ้นกับความสูงของ กลูโคสในเลือดในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา
2. การตรวจ Micro Albumin ในปัสสาวะ คือ กา
1. การตรวจฮีโมโกลบิน เอวันซี ( HbAlc) เป็นฮีโมโกลบินที่มีกลูโคสไ
2. การตรวจ Micro Albumin ในปัสสาวะ คือ กา
รตรวจการทำงานของไต Micro Albumin เป็นโปรตีน ซึ่งในคนปกติจะทำหน้าที่กรอ งโปรตีนเก็บไว้ แต่ในผู้ป่วยเบาหวานที่เกิด อาการแทรกซ้อนที่ไตจะไม่สาม ารถกรองโปรตีนไว้ได้หมด หากพบโปรตีนในปัสสาวะจึงบอก ถึงความผิดปกติเกี่ยวกับการ ทำงานของไต และถ้าได้รับการดูแลที่ไม่ด ีพอก็จะทำให้เกิดภาวะไตวายเ รื้อรังต่อไปได้ หากได้รับการดูแลที่ดีจากแพ ทย์ จะสามารถสกัดกั้นการเกิดไตว ายเรื้อรังชนิดถาวรได้
3. ABI ย่อมาจาก Ankle Brachial Index คือการตรวจวัดความดันโลหิตเ ปรียบเทียบกันระหว่างแขน และข้อเท้า เพื่อตรวจดูภาวะโรคหลอดเลือ ดแดงตีบตัน ซึ่งเป็นอาการแทรกซ้อนอย่าง หนึ่งของโรคเบาหวาน เกิดเนื่องจากการควบคุมระดั บน้ำตาลไม่ดี ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงเป็นเ วลานาน น้ำตาลจึงไปจับตัวกันทำให้ผ นังหลอดเลือดผิดปกติไป รวมทั้งภาวะความดันโลหิตสูง และการสูบบุหรี่ อาการที่เป็นการเตือนว่าท่า นอาจจะเป็นโรคหลอดเลือดแดงต ีบตัน ได้แก่
-รู้สึกเย็น หรือมีอาการซีดผิดปกติที่ขา ข้างใดข้างหนึ่ง
-มีอาการชาผิดปกติที่ขาข้าง ใดข้างหนึ่ง
-เมื่อเดินอย่างต่อเนื่องปร ะมาณ 1-2 ป้ายรถเมล์ จะมีอาการปวดกล้ามเนื้อที่ข ามากจนต้องหยุดพักสักระยะ จึงจะสามารถเดินต่อไปได้
-ปวดขาเวลาเดินเร็ว ๆ หรือเดินขึ้นทางลาดชัน หรือแม้แต่เดินทางราบ
-มีแผลเรื้อรังที่บริเวณเท้ า
-ผิวหนังที่บริเวณขาข้างใดข ้างหนึ่งบางผิดปกติ และอาจมีขนร่วงด้วย
-ปวดปลายนิ้วเท้าในเวลากลาง คืน บางครั้งปวดจนต้องตื่นนอน ค่าปกติต้องไม่ต่ำกว่า 0.9 ถ้าต่ำกว่า 0.9 แสดงว่ามีโอกาสเกิดโรคหลอดเ ลือดแดงตีบตันที่ปลายแขน ขาได้ รวมทั้งมีโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตั นเพิ่มขึ้นด้วย
ที่มา : bangkokhealth.com
3. ABI ย่อมาจาก Ankle Brachial Index คือการตรวจวัดความดันโลหิตเ
-รู้สึกเย็น หรือมีอาการซีดผิดปกติที่ขา
-มีอาการชาผิดปกติที่ขาข้าง
-เมื่อเดินอย่างต่อเนื่องปร
-ปวดขาเวลาเดินเร็ว ๆ หรือเดินขึ้นทางลาดชัน หรือแม้แต่เดินทางราบ
-มีแผลเรื้อรังที่บริเวณเท้
-ผิวหนังที่บริเวณขาข้างใดข
-ปวดปลายนิ้วเท้าในเวลากลาง
ที่มา : bangkokhealth.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น