ในปัจจจุบันนี้คนไทยไม่มากก
เกิดปัญหาได้เช่นเดียวกัน คือ ข้อเท้า ซึ่งอาจเป็นบริเวณที่คนส่วน ใหญ่มักมองข้ามและไม่ค่อยให ้ความสำคัญในการดูแล รักษาเท่าที่ควร
ข้อเท้า เป็นข้อต่อที่รองรับการใช้ง านอย่างหนักแต่คนส่วนใหญ่มั กมองข้ามและไม่ให้ ความสำคัญในการดูแลเอาใจใส่ ให้เหมาะสมในการใช้งาน จากผลการศึกษาพบว่าผู้ชายน้ ำหนัก 80 กิโลกรัม เดินเฉลี่ย 8,000 ก้าวต่อวัน ข้อเท้าจะรับน้ำหนักรวมเฉลี ่ยมากถึง 1,000 ตันต่อวัน
ข้อเท้าเทียม เป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้ ป่วยที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับ ข้อเท้าเสื่อมซึ่ง เป็นผลมาจากปัจจัยต่างๆที่ไ ด้กล่าวมา ข้อเท้าเทียมนั้นถูกพัฒนาขึ ้นเป็นเวลา 30 ปีมาแล้ว แต่เนื่องมาจากคุณภาพและรูป แบบของข้อเท้าเทียมในสมัยแร กๆนั้นยังไม่เป็นที่ ยอมรับ จนทำให้การผ่าตัดในช่วงแรกๆ ล้มเหลวทั้งหมด หลังจากนั้นในช่วงปลายทศวรร ษ 1980 ได้มีการพัฒนาข้อเท้าเทียมข ึ้นมาใหม่อีกครั้ง โดยในครั้งนี้ได้มีการเปลี่ ยนวัสดุและรูปแบบของข้อเท้า เทียมให้มีลักษณะใกล้ เคียงกับข้อเท้าของมนุษย์มา กยิ่งขึ้น รวมทั้งได้มีการออกแบบให้เก ิดการเชื่อมตัวกันระหว่างกร ะดูกของผู้ป่วยกับข้อ เท้าเทียม โดยไม่ต้องใช้ปูนเชื่อมกระด ูก ( Bone cement ) ดังเช่นในอดีต ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวเป็เท คโนโลยีเดียวที่ใช้กับข้อเข ่าเทียมและข้อสะโพก เทียมในปัจจุบัน ตั้งแต่นั้นมาข้อเท้าเทียมก ็ได้รับการยอมรับมากขึ้นและ ผลที่ตามมาหลังการผ่า ตัดก็ดีขึ้นเป็นลำดับ โดยผู้ป่วยสามารถกลับไปทำกิ จกรรมหลายอย่างได้ตามปกติ ไม่ว่าจะเป็นการเดิน ถีบจักรยาน ว่ายน้ำหรือแม้กระทั่งการวิ ่งเบาๆ
โดยทั่วไปการรักษาอาการปวดข ้อเท้าเรื้อรังอันเป็นผลมาจ ากการเสื่อมของ ผิวกระดูกข้อเท้านั้น สามารถทำได้สองวิธี คือ การเข้ารับการผ่าตัดเชื่อมก ระดูกข้อเท้า ( Arthodesis หรือ Ankle fusion ) และการผ่าตัดเพื่อใส่ข้อเท้ าเทียม ซึ่งการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเท้ าเทียมถือว่าเป็นทางเลือกที ่ดีที่สุดทางเลือก หนึ่ง โดยในประเทศไทยนั้นศัลยแพทย ์ออโธปิดิกส์ ( ศัลยแพทย์เฉพาะทางด้านกระดู ก) สามารถให้คำปรึกษาและแนะนำผ ู้ป่วยเพื่อให้สอดคล้องกับอ าการและสภาพร่างกาย ของผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี
การรักษาวิธีแรก คือ การผ่าตัดเพื่อเชื่อมกระดูก ข้อเท้า เป็นการรักษาที่นิยมกันมากใ นการแก้ปัญหาอาการปวดข้อเท้ าตั้งแต่อดีต เนื่องด้วยค่าใช้จ่ายที่ต่ำ กว่าและเป็นทางเลือกเดียวใน การรักษามานานนับสิบ ปี ผูัป่วยจะหายจากอาการปวดข้อ เท้าหลังจากการรักษาก็จริง แต่ผลที่ตามมาคือ ผู้ป่วยไม่สามารถขยับข้อเท้ าได้ดังเดิม การเคลื่อนไหวลดลงเนื่องจาก ไม่สามารถขยับ งอ หรือบิดข้อเท้าได้อีกต่อไป นอกเหนือไปจากนั้นงานวิจัยย ังแสดงถึงปัญหาที่ตามมาหลัง การผ่าตัดเชื่อม กระดูกข้อเท้า โดยจะทำให้เกิดการเสื่อมตัว ลงอย่างรวดเร็วของข้อกระดูก ถัดๆไปจากกระดูกข้อ เท้าในระยะเวลา 10 ปี เนื่องจากการพยายามปรับตัวข องกระดูกข้อต่างๆให้เข้ากับ กระดูกข้อเท้าที่ได้ รับการผ่าตัดเชื่อมกันจนทำใ ห้สูญเสียความยืดหยุ่นและคว ามสามารถในการเคลื่อน ที่ ทั้งนี้ข้อต่อต่างๆที่อยู่ถ ัดจากข้อเท้าที่เชื่อแล้วยั งต้องรับภาระในการทำ หน้าที่ทดแทนข้อเท้ามากยิ่ง ขึ้น ทำให้เกิดปัญหาการเสื่อมของ ข้อต่างๆตามมาในที่สุด
การรักษาวิธีถัดมา ที่เริ่มเป็นที่นิยมและเข้า มาทดแทนการรักษาวิธีแรกก็คื อ การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเท้าเที ยมนั่นเอง โดยเป็นทางเลือกที่เหนือกว่ าทั้งในด้านใช้งานที่ทำให้เ กิดการเคลื่อน ไหวอย่างอิสระมากยิ่งขึ้น และผลที่ตามมาหลังการรักษาโ ดยไม่ส่งผลให้เกิดการเสื่อม ของกระดูกข้อถัดๆไป อีกทั้งหากเกิดการเสื่อมของ ข้อเท้าเทียมที่ผ่าตัดไปหลั งจากมีการใช้งานหรือ มีปัญหาใดๆตามมา ศัลยแพทย์กระดูกยังสามารถเป ลี่ยนกลับไปรักษาด้วยการผ่า ตัดเชื่อมกระดูกข้อ เท้าได้ในภายหลัง
อย่างไรก็ดีผู้ป่วยบางคนอาจ ไม่สามารถทำการรักษาโดยเปลี ่ยนกระดูกข้อเท้าได้ เนื่องจากผู้ป่วยอาจมีโรคปร ะจำตัวหรือสภาพของร่างกายบา งอย่างที่ไม่เหมาะสม เช่น ผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคกระดูก พรุน โรคเบาหวาน หรือมีภาวะเลือดไปหล่อเลี้ย งเท้าหรือขาไม่เพียงพอ เพราะสภาวะเหล่านี้อาจรบกวน ผลการรักษาและมีผลต่ออายุกา รใช้งานของข้อเท้า เทียม ทั้งนี้สภาวะแวดล้อมต่างๆขึ ้นอยู่กับดุลยพินิจของศัลยแ พทย์ที่ทำการตรวจ รักษา
ปัจจุบันนี้ศัลยแพทย์กระดูก ของประเทศไทยเริ่มให้ความสน ใจกับกระดูกเท้าและ ข้อเท้ามากยิ่งขึ้น จนได้เกิด อนุสาขาออร์โธปิดิกส์เท้าแล ะข้อเท้า ขึ้นในราชวิทยาลัยแพทย์ออร์ โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย เพื่อส่งเสริมและผลิตบุคลาก รทางการแพทย์ออร์โธปิดิกส์ท ี่มีความรู้ความ สามารถเฉพาะทางด้านกระดูกเท ้าและข้อเท้า เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ปร ะชาชนชาวไทย
หากท่านมีสงสัยหรืออาการเกี ่ยวข้องกับกระดูกเท้าและข้อ เท้า ท่านสามารถปรึกษาแพทย์เฉพาะ ทางด้านเท้าและข้อเท้าได้ ในโรงพยาบาลดังต่อไปนี้ โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลมหาราชเชียงใหม่ โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ โรงพยาบาลพระราม 9 และโรงพยาบาลวิชัยยุทธ โดยจำนวนแพทย์เฉพาะทางด้านก ระดูกเท้าและข้อเท้านั้นจะเ พิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
ข้อเท้า เป็นข้อต่อที่รองรับการใช้ง
ข้อเท้าเทียม เป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้
โดยทั่วไปการรักษาอาการปวดข
การรักษาวิธีแรก คือ การผ่าตัดเพื่อเชื่อมกระดูก
การรักษาวิธีถัดมา ที่เริ่มเป็นที่นิยมและเข้า
อย่างไรก็ดีผู้ป่วยบางคนอาจ
ปัจจุบันนี้ศัลยแพทย์กระดูก
หากท่านมีสงสัยหรืออาการเกี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น